วันพฤหัสบดีที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

แก็ส

สมบัติทั่วไปของแก็ส สมบัติทั่วไปของแก็ส ได้แก่ 1. แก๊สมีรูปร่างเป็นปริมาตรไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ บรรจุ ในภาชนะใดก็จะมีรูปร่างเป็นปริมาตรตามภาชนะนั้น เช่น ถ้าบรรจุในภาชนะทรงกลมขนาด 1 ลิตร  อ่านเพิ่มเติม

ของเหลว

ของเหลวทั่วไปมีสมบัติดังนี้ ก. ปริมาตรและรูปร่าง แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลต่างๆ ของของเหลวมีมากพอที่จะกีดกันไม่ให้โมเลกุลของของเหลวเคลื่อนที่ไปได้มากภายในปริมาตรที่กำหนดให้ แต่แรงดึงดูดนี้ไม่มากพอที่จะยึดเหนี่ยวให้โมเลกุลของของเหลวอยู่ประจำที่  อ่านเพิ่มเติม


ของแข็ง

สมบัติของของแข็ง 1. ปริมาตรคงที่ไม่ขึ้นอยู่กับขนาดภาชนะที่บรรจุ 2. มีรูปร่างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามรูปร่างของภาชนะ3. มีอนุภาคอยู่ชิดติดกันอย่างมีระเบียบ 4. สามารถระเหิดได้ โมเลกุลของสารในสถานะของแข็งจะอยู่ชิดกันมาก อ่านเพิ่มเติม


สารละลาย

สารละลาย (Solution) คือ สารเนื้อเดียวที่มีสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน ประกอบด้วยตัวทำละลายและตัวถูกละลาย ถ้าตัวถูกสารละลายและตัวทำละลายมีสถานะเดียวกันสารละลายที่มีปริมาณมากกว่าเป็นตัวทำละลาย  อ่านเพิ่มเติม


สมการเคมี

สมการเคมี  (Chemical equation) คือ  กลุ่มสัญลักษณ์ที่เขียนแทนปฏิกิริยาเคมี  ให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกิดขึ้นในระบบ  สมการเคมีประกอบด้วยสัญลักษณ์ แสดงสารตั้งต้น และผลิตภัณฑ์ อ่านเพิ่มเติม


มวลอะตอม

เนื่องจากอะตอมของแต่ละธาตุมีมวลน้อยมาก ดอลตันพบว่าไฮโดรเจนเป็นธาตุที่อะตอมมีมวลน้อยที่สุด จึงเสนอให้ใช้ไฮโดรเจนเป็นธาตุมาตรฐานในการเปรียบเทียบเพื่อหามวลอะตอมของธาตุอื่นๆ โดยกำหนดให้ไฮโดรเจน 1 อะตอมมีมวลเป็น 1 หน่วย อ่านเพิ่มเติม



โมเลกุล

   โมเลกุล (molecule)166โมเลกุลคือกลุ่มอะตอมอย่างน้อย 2 อะตอมที่รวมตัวกันอยู่ด้วยแรงดึงดูดทางเคมี โดยทั่วไปโมเลกุลอาจประกอบด้วยอะตอมของธาตุชนิดเดียวกันหรืออะตอมของธาตุตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปมารวมกันด้วยอัตราส่วนที่แน่นอนตามกฎสัดส่วนคงตัว (law of constant proportions) 
อ่านเพิ่มเติม     




โมล

    โมล (สัญลักษณ์: mol) เป็นหน่วยฐานสำหรับวัดปริมาณสารในหน่วยเอสไอ เป็นปริมาณที่ไม่มีมิติ หนึ่งโมลคือปริมาณของสารที่มีหน่วยย่อยเท่ากับจำนวนอะตอมของคาร์บอน-12 ที่มีมวล 12 กรัม 
อ่านเพิ่มเติม



วันพฤหัสบดีที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2558

เฉลยแบบฝึกหัด 4.11


แบบฝึกหัด 4.11
จงดุลสมการต่อไปนี้
10. NH3 (g) + NO(g) ---------------------------> N2  (g)+ H2O (g)

11.Na2 O(S) + H2 O (I)--------------------------->NaOH (aq)+ H2 O2 (aq)

12.Cu(NO3 )2 ( aq) + NH3 (aq) + H2 O (l)------------------------->Cu (OH 2) (S)+ NH4 NO3 (aq)
เฉลย

10. 4NH3 (g) +6NO(g) ----------------------------->5N2  (g)+ 6H2O (g)

11.Na2 O(S) + 2H2 O (I) -------------------------------->2NaOH (aq)+ H2 O2 (aq)

12.Cu(NO3 )2 ( aq) +2NH3 (aq) + 2H2 O (l) ------------------>Cu (OH 2) (S)+2NH4 NO3 (aq)